Watch Now
ข่าวอัพเดต

กระบวนการ UASB เพื่อบำบัดน้ำเสียโรงงานแปรรูปอาหารและผลิตก๊าซชีวภาพ โดยปภพ
โครงการระบบบำบัดน้ำเสียและผลิตก๊าซชีวภาพนตั้งอยู่ที่โรงงานแปรรูปอาหารแห่งหนึ่ง บริษัท ปภพ จำกัด เป็นผู้รับเหมาหลักแบบ Turnkey ใช้ระยะเวลาก่อสร้างและเริ่มต้นเดินระบบทั้งหมดประมาณ 1 ปี ประกอบด้วยกระบวนการดังนี้ Dissolved Air Flotation (DAF), Upflow Anaerobic Sludge Blanket (UASB) และ Screw Press โครงการก่อสร้างและส่งมอบตามที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้

UASB เพื่อบำบัดน้ำเสีย และผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียโรงงานผลิตภัณฑ์จากนม
บทความนี้จะพาทุกท่านมาชมผลงานโครงการระบบบำบัดน้ำเสียและผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียโรงงานผลิตภัณฑ์จากนมแห่งหนึ่งที่ใช้ระบบ UASB และ Digester แบบ CSTR โครงการนี้ปภพเป็นผู้ดำเนินโครงการแบบ Turnkey ใช้เวลาออกแบบ ก่อสร้าง และเริ่มเดินระบบ ประมาณ 1 ปี สามารถรองรับน้ำเสียได้สูงสุด 220 ลบ.ม. ต่อวัน

โรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ 1 MW โดยปภพ
บทความนี้แอดมินขอแนะนำโรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ขนาด 1 MW ซึ่งสร้างขึ้นโดยกิจการร่วมค้าบ้านค่าย ปภพ ก่อสร้างแล้วเสร็จปลายปีพ.ศ. 2562 ตั้งอยู่ในพื้นที่โรงงานกำจัดขยะของอบจ. ระยอง จ. ระยอง โดยมีชื่อว่า “โครงการระบบหมักก๊าซชีวภาพ ศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยรวมแบบครบวงจร จังหวัดระยอง” เป็นโรงงานผลิตไฟฟ้าจากขยะอินทรีย์แห่งแรกในประเทศไทยที่ดำเนินการเชิงพาณิชย์ในปีพ.ศ. 2562

ปภพ ผู้นำเทคโนโลยีสีเขียว เปิดตัวเว็บไซต์ใหม่ พร้อมโปรแกรมประเมินก๊าซชีวภาพ
ปภพ ผู้นำเทคโนโลยีสีเขียว (Biogas, Water Reuse, Solar) เปิดตัวเว็บไซต์ใหม่ด้วยฤกษ์ 9.9.9 คือ 9.00 น. วันที่ 9 เดือน 9 ซึ่งมีเนื้อหาที่อัพเดท พร้อมโปรแกรมประเมินก๊าซชีวภาพ เพื่อลูกค้าและผู้ที่สนใจสามารถคำนวณผลประโยชน์ที่จะได้จากการทำโครงการก๊าซชีวภาพได้ทันทีอย่างง่ายๆด้วยตนเองเป็นแห่งแรกในประเทศไทย
Watch Now
ข่าวอัพเดต

กระบวนการ UASB เพื่อบำบัดน้ำเสียโรงงานแปรรูปอาหารและผลิตก๊าซชีวภาพ โดยปภพ
โครงการระบบบำบัดน้ำเสียและผลิตก๊าซชีวภาพนตั้งอยู่ที่โรงงานแปรรูปอาหารแห่งหนึ่ง บริษัท ปภพ จำกัด เป็นผู้รับเหมาหลักแบบ Turnkey ใช้ระยะเวลาก่อสร้างและเริ่มต้นเดินระบบทั้งหมดประมาณ 1 ปี ประกอบด้วยกระบวนการดังนี้ Dissolved Air Flotation (DAF), Upflow Anaerobic Sludge Blanket (UASB) และ Screw Press โครงการก่อสร้างและส่งมอบตามที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้

UASB เพื่อบำบัดน้ำเสีย และผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียโรงงานผลิตภัณฑ์จากนม
บทความนี้จะพาทุกท่านมาชมผลงานโครงการระบบบำบัดน้ำเสียและผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียโรงงานผลิตภัณฑ์จากนมแห่งหนึ่งที่ใช้ระบบ UASB และ Digester แบบ CSTR โครงการนี้ปภพเป็นผู้ดำเนินโครงการแบบ Turnkey ใช้เวลาออกแบบ ก่อสร้าง และเริ่มเดินระบบ ประมาณ 1 ปี สามารถรองรับน้ำเสียได้สูงสุด 220 ลบ.ม. ต่อวัน

โรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ 1 MW โดยปภพ
บทความนี้แอดมินขอแนะนำโรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ขนาด 1 MW ซึ่งสร้างขึ้นโดยกิจการร่วมค้าบ้านค่าย ปภพ ก่อสร้างแล้วเสร็จปลายปีพ.ศ. 2562 ตั้งอยู่ในพื้นที่โรงงานกำจัดขยะของอบจ. ระยอง จ. ระยอง โดยมีชื่อว่า “โครงการระบบหมักก๊าซชีวภาพ ศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยรวมแบบครบวงจร จังหวัดระยอง” เป็นโรงงานผลิตไฟฟ้าจากขยะอินทรีย์แห่งแรกในประเทศไทยที่ดำเนินการเชิงพาณิชย์ในปีพ.ศ. 2562
สาระน่ารู้

8 ข้อดีที่ระบบ UASB (Upflow Anaerobic Sludge Blanket) เหนือกว่าแบบ Lagoon
ในกระบวนการ UASB (Upflow Anaerobic Sludge Blanket) สารอินทรีย์ในน้ำเสียจะถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ Methanogens เพื่อผลิตก๊าซชีวภาพ ปภพเป็นหนึ่งในบริษัทของคนไทยอันดับต้นๆ ที่บุกเบิกก่อสร้างกระบวนการ UASB เพื่อผลิตก๊าซชีวภาพตั้งแต่เมื่อ 25 ปีก่อน โดยพัฒนาอย่างต่อเนื่องของคุณลิขิต นิ่มตระกูล และดร. เสนีย์ กาญจนวงศ์

กระบวนการ UASB คืออะไร มีองค์ประกอบอะไรบ้าง ข้อดี และข้อจำกัด
ในกระบวนการ UASB (Upflow Anaerobic Sludge Blanket) สารอินทรีย์ในน้ำเสียจะถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ Methanogens เพื่อผลิตก๊าซชีวภาพ ปภพเป็นหนึ่งในบริษัทของคนไทยอันดับต้นๆ ที่บุกเบิกก่อสร้างกระบวนการ UASB เพื่อผลิตก๊าซชีวภาพตั้งแต่เมื่อ 25 ปีก่อน โดยพัฒนาอย่างต่อเนื่องของคุณลิขิต นิ่มตระกูล และดร. เสนีย์ กาญจนวงศ์

สถิติโครงการโรงไฟฟ้าชุมชน วิเคราะห์เชิงลึก ใครรุ่ง ใครร่วง (ตอนที่ 2)
จากตอนที่ 1 ที่แอดมินได้นำเสนอเกี่ยวกับจำนวนโครงการแบบเจาะลึก คราวนี้เรามาดูเรื่องอัตราส่วนลดค่าไฟฟ้า หรือ FiTf กันบ้าง ใครที่ยังไม่ได้อ่านตอนแรกแอดมินขอแนะนำให้คลิกไปอ่านที่ลิงค์ด้านบนได้เลยจ้า

สถิติโครงการโรงไฟฟ้าชุมชน วิเคราะห์เชิงลึก ใครรุ่ง ใครร่วง (ตอนที่ 1)
จากบทความก่อนที่แอดมินได้เขียนถึงจุดกำเนิด และพัฒนาการของของโครงการโรงไฟฟ้าชุมชนไปแล้ว คราวนี้เรามาลองดูข้อมูลสถิติที่สำคัญกันบ้าง ว่าใครรุ่ง ใครร่วง หวังว่าจะเป็นประโยชน์ให้กับนักลงทุนที่จะพัฒนาโครงการนี้ในเฟสต่อๆ ไป และที่สำคัญอย่าลืมว่าปภพมีเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการช่วยทำโครงการโรงไฟฟ้าชุมชนก๊าซชีวภาพให้ประสบความสำเร็จได้อีกด้วย